โครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำร่างแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เอกสารทางวิชาการ หมายเลข 37 การจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดร.เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ ได้รับการสนับสนุนจากโครงการนโยบายสาธารณะเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีดำเนินการโดย มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มิถุนายน 2549
สังคมปัจจุบันไม่ว่าจะอยู่ในประเทศพัฒนาแล้วหรือประเทศกำลังพัฒนา ล้วนเจริญเติบโตท่ามกลางความขัดแย้งไม่มากก็น้อยด้วยกันทั้งสิ้น จนมีคำกล่าวว่าความขัดแย้งสามารถทำลายล้างได้ทั้งทางร่างกายและทางอารมณ์หรืออาจจะนำไปสู่ความเจริญและผลิตผลสำหรับทุกฝ่ายได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าจะจัดการแก้ไขความขัดแย้งไปในแนวทางใด ความขัดแย้งจึงมีทั้งแง่ลบและแง่บวกและเป็นเรื่องปกติที่ทุกคนทุกกลุ่มองค์หรือสังคมใดๆต้องเผชิญไม่วันใดก็วันหนึ่ง สังคมที่จัดการปัญหาความขัดแย้งได้ ก็จะเติบโตไปสู่สังคมคุณภาพใหม่ต่อไปเรื่อยๆ สังคมที่จัดการความขัดแย้งไม่ได้ก็จะแตกแยกล่มสลายไป ความขัดแย้งรุนแรงจนถึงระดับชุมชนล่มสลายในอดีตก็มีให้เห็นไม่ใช่น้อย
119-37 การจัดการแก้ปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ
Platforms: | Windows 8 |
Category: | การมีส่วนร่วมของประชาชน |
วันที่: | มิถุนายน 5, 2016 |